การควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส แบบ Star - Delta รับลิงก์ Facebook X Pinterest อีเมล แอปอื่นๆ กันยายน 20, 2563 เป็นวิธีการสตาร์ทมอเตอร์ ด้วยวิธีการลดแรงดันตอนสตาร์ท ทำให้กระแสขณะสตาร์ทลดลง ใช้กับการสตาร์ทมอเตอร์ที่สามารถรันแบบเดลต้าได้เท่านั้น รับลิงก์ Facebook X Pinterest อีเมล แอปอื่นๆ ความคิดเห็น
การควบคุมและวงจรนิวแมติกส์ไฟฟ้า ตุลาคม 18, 2563 การควบคุมและวงจรนิวแมติกส์ไฟฟ้า บทความนี้ยังคงอยู่ในส่วนของความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ วงจรนิวเมติกส์ นะครับ โดยเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับพื้นฐานการควบคุมการทำงานของระบบนิวเมติกส์ และวงจรนิวเมติกส์ไฟฟ้า ไปลุยกันเลยครับ ในระบบการควบคุมงานทางด้านนิวแมติกส์ไฟฟ้า สามารถแบ่งส่วนประกอบที่สำคัญออกได้เป็นสองส่วนด้วยกัน คือ วงจรนิวแมติกส์หรือวงจรกำลัง ( Pneumatic Circuit ) วงจรไฟฟ้าหรือวงจรควบคุม ( Electric Circuit ) วงจรรักษาสภาพ (The Holding Circuit) วงจรรักษาสภาพในความหมายก็คือ เมื่อมีการกดสวิทซ์สั่งงานทั่วไปแล้ววงจรจะมีการทำงานอยู่ตลอดเวลาแม้ว่าจะไม่ได้กดสวิทซ์แล้วก็ตาม รูปที่ 2 หลักการของการรักษาสภาพ จากวงจรในรูป 2 วงจรยังไม่สามารถเนื่องจากหลังจากที่กดสวิทซ์ “No” ไปแล้ววงจรจะทำงานตลอดเวลาไม่สามารถหยุดได้ นอกจากหยุดหรือปลดแหล่งจ่ายไฟ (แบตเตอรี่) ออกจากวงจร จากเหตุผลดังกล่าวจึงต้องมีสวิทซ์อีกตัวไว้สำหรับการหยุดการทำงาน โดยจะเป็นสวิทซ์แบบปกติปิด รูปที่ 4 วงจรรักษาสภาพตามมาตรฐาน ISO การประยุกต์ใช้งานวงจรรักษาสภาพ รูปที่ 5 จากรูป : เมื่อกำหนดให้ a1 คือ ลิมิตสวิทซ์ที่ติดไว้ที่ปลายกระ... อ่านเพิ่มเติม
กระบอกสูบ ตุลาคม 11, 2563 กระบอกลม/กระบอกสูบนิวเมติก (Air Cylinder/Pneumatic Cylinder) จะทำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานลมอัดให้เป็นพลังงานกล ลักษณะในการเคลื่อนที่ส่วนมากเป็นการเคลื่อนที่แบบเส้นตรง ในสมัยก่อน ที่ลูกสูบลมจะเข้ามามีบทบาทในงานอุตสาหกรรมยังใช้กลไกทางกลและทางไฟฟ้า มีความยุ่งยากในการควบคุม และปัญหาของช่วงชักจำกัด ดังนั้นในอุตสาหกรรมสมัยใหม่จึงพัฒนาลูกสูบลมมาใช้ในงานจนถึงปัจจุบัน ตัวกระบอกลมมักจะทำด้วยท่อชนิดไม่มีตะเข็บ เช่น เหล็ก อะลูมิเนียม ทองเหลือง สแตนเลสขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่ใช้ ภายในท่อ จะต้องเจียรนัยให้เรียบ เพื่อลดการสึกหรอของซีลที่จะเกิดขึ้น และยังลดแรงเสียดทานภายในกระบอกสูบอีกด้วย ตัวฝาสูบทั้งสองด้านส่วนใหญ่นิยมการหล่อขึ้นรูป บางแบบอาจใช้การอัดขึ้นรูป การยึดตัวกระบอกสูบลมเข้ากับฝาอาจใช้เกลียวขัน เหมาะสำหรับกระบอกสูบที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางต่ำกว่า 25 มิลลิเมตรลงมา ถ้าโตกว่านี้นิยมใช้สกรูร้อยขันรัดหัวท้าไว้ สำหรับก้านสูบอาจทำด้วยสแตนเลสหรือเหล็กชุบผิวโครเมียม ที่เกลียวปลายก้านสูบจะทำด้วยกรรมวิธี... อ่านเพิ่มเติม
มิถุนายน 25, 2564 Mr. Thinnapat Khamsui นายทินภัทร คำสุ่ย การต่อสายแลน วิธีการและขั้นตอนการเข้าหัวสาย RJ-45 1. ปลอกเปลือกนอกของสาย CAT5 ออก โดยห่างจากปลายสายประมาณ 2-3 cm โดยคีมเข้าหัวบางรุ่นจะมีส่วนที่ปลอกเปลือกนอกของสาย RJ45 พอใส่สายแลนเข้าไปแล้วหมุนคีมเป็นวงกลมให้รอบสาย หากคีมเข้าหัวไม่มีในส่วนนี้ ให้ใช้คัตเตอร์หรือกรรไกรแทนตามความถนัด ระวังอย่าให้สายแลนภายในขาด 2.จากนั้นก็ดึงส่วนของปลอกที่แยกออกจากกันออก 3. เมื่อปลอกสายแลนเสร็จแล้ว จะสังเกตเห็นมีเส้นด้ายสีขาว ( แล้วแต่ยี่ห้อของสายแลน) ให้ใช้กรรไกร ตัดตัดสายไฟสายแลน 4. จากนั้นคลายเกียวออกมาจะพบสายแลนพันเกลียวเป็นคู่อยู่ 4 คู่ 5. จัดเลียงลำดับสายใหม่ (ในกรณีต้องการทำสายตรง ใช้สำหรับเครื่องคอมไป Switch) โดยให้เรียงสีดังนี้ทั้งสองข้าง ขาวส้ม ส้ม ขาวเขียว ฟ้า ขาวฟ้า เขียว ขาวน้ำตาล น้ำตาล หลังจากที่เราเข้าหัว RJ 45 กับสายแลนเสร็จแล้ว ให้นำมาทดสอบกับอุปกรณ์วัดสัญญาณสังเกตสัญญาณไฟ ถ้าต่อแบบตรงสัญญาณไฟจะตรงกันทั้งหมด 8 ช่อง หากสัญญ... อ่านเพิ่มเติม
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น