ประวัติส่วนตัว ชื่อ : นายทินภัทร คำสุ่ย ชื่อเล่น : กอล์ฟ เกิด : วันพฤหัสบดี ที่ 12 ตุลาคม 2543 อายุ : 21 ปี สัญชาติ : ไทย เชื้อชาติ : ไทย ศาสนา : พุทธ สถานภาพ : มีแฟนแล้ว ภูมิลำเนา : บ้านเลขที่ 57 หมู่ 3 บ้านทับกุง ตำบลทับกุง อำเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี 41340 โทรศัพท์ : 0955171053 อีเมลล์ : golf2543day@gmail.com การศึกษา : ระดับปริญญาตรี หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า ปี1 คำคม : ถึงเงินจะซื้อความรักไม่ได้ แต่ความรักมันก็ต้องมีค่าใช้จ่าย
บทความ
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
Mr.Thinnapat Khamsui นายทินภัทร คำสุ่ย การต่อหลอดไฟ (ฟลูออเรสเซนต์ และหลอดไส้แบบกลม) การต่อหลอดไฟนั้น เราควรใส่สวิตช์ไว้ด้านมีไฟหรือถ้าไม่ทราบให้เอาไขควงเช็คไฟไปจิ้มดู ถ้าหลอดไขควงเช็คไฟติดตรงเส้นไหน ก็ให้เอาเส้นนั้นเข้าสวิตช์ ส่วนการต่อก็ตามภาพด้านล่านนี้เลยครับ การต่อหลอดฟลูออเรสเซนต์ การต่อหลอดไส้แบบกลม การต่อหลอดไฟแบบขนานกัน ข้อดีคือถ้ามีหลอดใดดับหรือขาดไป หลอดอื่นก็ยังสามารถใช้งานได้ การต่อหลอดไฟแบบอนุกรม ข้อเสียคือถ้าหลอดใดหลอดหนึ่งขาด หลอดไฟทั้งหมดจะดับด้วย อล้วเราก็ต้องมาหาว่าหลอดใดที่มีปัญหา
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
Mr. Thinnapat Khamsui นายทินภัทร คำสุ่ย การต่อสายแลน วิธีการและขั้นตอนการเข้าหัวสาย RJ-45 1. ปลอกเปลือกนอกของสาย CAT5 ออก โดยห่างจากปลายสายประมาณ 2-3 cm โดยคีมเข้าหัวบางรุ่นจะมีส่วนที่ปลอกเปลือกนอกของสาย RJ45 พอใส่สายแลนเข้าไปแล้วหมุนคีมเป็นวงกลมให้รอบสาย หากคีมเข้าหัวไม่มีในส่วนนี้ ให้ใช้คัตเตอร์หรือกรรไกรแทนตามความถนัด ระวังอย่าให้สายแลนภายในขาด 2.จากนั้นก็ดึงส่วนของปลอกที่แยกออกจากกันออก 3. เมื่อปลอกสายแลนเสร็จแล้ว จะสังเกตเห็นมีเส้นด้ายสีขาว ( แล้วแต่ยี่ห้อของสายแลน) ให้ใช้กรรไกร ตัดตัดสายไฟสายแลน 4. จากนั้นคลายเกียวออกมาจะพบสายแลนพันเกลียวเป็นคู่อยู่ 4 คู่ 5. จัดเลียงลำดับสายใหม่ (ในกรณีต้องการทำสายตรง ใช้สำหรับเครื่องคอมไป Switch) โดยให้เรียงสีดังนี้ทั้งสองข้าง ขาวส้ม ส้ม ขาวเขียว ฟ้า ขาวฟ้า เขียว ขาวน้ำตาล น้ำตาล หลังจากที่เราเข้าหัว RJ 45 กับสายแลนเสร็จแล้ว ให้นำมาทดสอบกับอุปกรณ์วัดสัญญาณสังเกตสัญญาณไฟ ถ้าต่อแบบตรงสัญญาณไฟจะตรงกันทั้งหมด 8 ช่อง หากสัญญ...
การควบคุมและวงจรนิวแมติกส์ไฟฟ้า
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
การควบคุมและวงจรนิวแมติกส์ไฟฟ้า บทความนี้ยังคงอยู่ในส่วนของความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ วงจรนิวเมติกส์ นะครับ โดยเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับพื้นฐานการควบคุมการทำงานของระบบนิวเมติกส์ และวงจรนิวเมติกส์ไฟฟ้า ไปลุยกันเลยครับ ในระบบการควบคุมงานทางด้านนิวแมติกส์ไฟฟ้า สามารถแบ่งส่วนประกอบที่สำคัญออกได้เป็นสองส่วนด้วยกัน คือ วงจรนิวแมติกส์หรือวงจรกำลัง ( Pneumatic Circuit ) วงจรไฟฟ้าหรือวงจรควบคุม ( Electric Circuit ) วงจรรักษาสภาพ (The Holding Circuit) วงจรรักษาสภาพในความหมายก็คือ เมื่อมีการกดสวิทซ์สั่งงานทั่วไปแล้ววงจรจะมีการทำงานอยู่ตลอดเวลาแม้ว่าจะไม่ได้กดสวิทซ์แล้วก็ตาม รูปที่ 2 หลักการของการรักษาสภาพ จากวงจรในรูป 2 วงจรยังไม่สามารถเนื่องจากหลังจากที่กดสวิทซ์ “No” ไปแล้ววงจรจะทำงานตลอดเวลาไม่สามารถหยุดได้ นอกจากหยุดหรือปลดแหล่งจ่ายไฟ (แบตเตอรี่) ออกจากวงจร จากเหตุผลดังกล่าวจึงต้องมีสวิทซ์อีกตัวไว้สำหรับการหยุดการทำงาน โดยจะเป็นสวิทซ์แบบปกติปิด รูปที่ 4 วงจรรักษาสภาพตามมาตรฐาน ISO การประยุกต์ใช้งานวงจรรักษาสภาพ รูปที่ 5 จากรูป : เมื่อกำหนดให้ a1 คือ ลิมิตสวิทซ์ที่ติดไว้ที่ปลายกระ...
นิวเเมติกส์ (pneumatic)
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
หลักการทำงาน Pneumatics Control นิวเเมติกส์ (pneumatic) เป็นคำที่มาจาก pneuma ซึ่งเป็นภาษากรีกโบราณ หมายความว่า “ก๊าซที่มองไม่เห็น” ในปัจจุบันนิวเมติกส์หมายถึงระบบที่ใช้อากาศอัดส่งไปตามท่อลมเพื่อเป็นตัวกลางในการถ่ายทอดกำลังงานของไหลให้เป็นกำลังงานกล โดยระบบการทำงานของนิวเมติกส์นั้นจะประกอบไปด้วยอุปกรณ์พื้นฐาน ดังนี้ 1. อุปกรณ์ต้นกำลังนิวแมติก (power unit) ทำหน้าที่สร้างลมอัดเพื่อนำไปใช้ในงานระบบนิวแมติก ประกอบไปด้วย อุปกรณ์ขับ (driving unit) ทำหน้าที่ขับเครื่องอัดอากาศ เครื่องอัดอากาศ (air compressor) ทำหน้าที่อัดอากาศที่ความดันบรรยากาศ ให้มีความดันสูงกว่าบรรยากาศปกติ เครื่องกรองอากาศขาเข้า (intake filter) ทำหน้าที่กรองอากาศก่อนที่จะนำไปเข้าเครื่องอัดอากาศ เพื่อให้อากาศที่จะอัดปราศจากฝุ่นละออง เพราะถ้าอากาศที่อัดมีฝุ่นละอองจะทำให้เกิดความเสียหายแก่เครื่องอัดอากาศและจะทำให้ระบบมีประสิทธิภาพต่ำได้ เครื่องหล่อเย็น (aftercooler) ทำหน้าที่ในการหล่อเย็นอากาศอัด ให้เย็นตัวลง เครื่องแยกน้ำมันและความชื้น (seperator) อุปกรณ์ที่ช่วยแยกความชื้น...